อบรมเครน

โดย วิทยากรผู้เชี่ยวชาญกว่า 20 ปี

หลักสูตรเครน 4 ผู้ มาตรฐานใหม่

ปูพื้นฐาน พร้อมสอนฝึกปฏิบัติอย่างถูกต้อง

หลักสูตรอบรม In-House และ Public

ที่ออกแบบเพื่อเน้นใช้งานและปฏิบัติมากกว่า 70%

หลักสูตร 4 ผู้

ผู้บังคับปั้นจั่นผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น

ผู้ยึดเกาะวัสดุผู้ควบคุมปั้นจั่นชนิดปั้นจั่นเหนือศีรษะ

ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน บริหารจัด ดำเนินการ
ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม
ในงานเกี่ยวกับเครื่องจักรปั้นจั่นและหม้อน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๔
หลักสูตรอบรมการซ่อมบำรุง

หลักสูตรซ่อมบำรุงเครน

เทคนิคตรวจสอบและบำรุงรักษาเชิงป้องกัน

สำหรับรอกไฟฟ้าและปั้นจั่นเหนือศีรษะ

ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ
และดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย

หลักสูตรทบทวน เครน

ผู้บังคับปั้นจั่นผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น

ผู้ยึดเกาะวัสดุผู้ควบคุมปั้นจั่น ชนิดปั้นจั่นเหนือศีรษะ

ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ
และดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย
หลักสูตรอบรมผู้ควบคุมรถเครน

หลักสูตรเต็ม 4 ผู้ รถเครน

ผู้บังคับปั้นจั่นผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น

ผู้ยึดเกาะวัสดุผู้ควบคุมปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่

ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ
และดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย
อบรม 4 ผู้

หลักสูตรทบทวน รถเครน

ผู้บังคับปั้นจั่นผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น

ผู้ยึดเกาะวัสดุผู้ควบคุมปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่

ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ
และดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย

เนื้อหาหลักสูตรอบรม

  • การทดสอบภาคทฤษฎีก่อนการอบรม วันที่ 1
    • ความรู้พื้นฐาน
    • (1) กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรฯ พ.ศ. 2564
    • (2) มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
    • (3) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้นจั่นและชนิดของปั้นจั่น
    • (4) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ และอุปกรณ์ยก
    • (5) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น
    • (6) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น
    • 1.2 ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น
    • 1.3 ระบบสัญญาณเตือน และ Limit switch
  • การทดสอบภาคปฏิบัติ วันที่ 2
    • การใช้สัญญาณมือ
    • การเลือกใช้ และการตรวจสอบอุปกรณ์ยก
    • วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย
    • การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
    • การใช้คู่มือการใช้งาน การตรวจสอบ และการบำรุงรักษาตามระยะเวลา
  • การทดสอบภาคทฤษฎีหลังการอบรม
  • การทดสอบภาคปฏิบัติ
    • การวางแผนการยกอย่างปลอดภัยและพิจารณาพิกัดน้ำหนักที่จะยก
    • การยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามเส้นทางที่กำหนดอย่างถูกต้องและปลอดภัย
    • การให้สัญญาณการผูก มัด การยึดเกาะวัสดุอย่างถูกต้องและปลอดภัย
    • ผู้ผ่านการทดสอบตามเกณฑ์จะได้รับมอบใบรับรองผ่านการอบรม
หลักสูตรอบรม วันที่ 1
  • (1) กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรฯ พ.ศ. 2564
  • (2) ความปลอดภัยในการใช้งานปั้นจั่น กรณีทบทวน และกรณีที่นำปั้นจั่น ชนิดหรือประเภทที่แตกต่างจากเดิมมาใช้งาน
  • (3) กรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น และความสูญเสีย รวมทั้ง นำผลการสอบสวนอุบัติเหตุมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนป้องกัน
หลักสูตรอบรม วันที่ 2
  • ทบทวนการปฏิบัติงานกับปั้นจั่น ปั้นจั่นชนิดเหนือศีรษะ
  • (1)   การบังคับปั้นจั่น
  • (2)   การให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น 
  • (3)   การยึดเกาะวัสดุ
  • (4)   การควบคุมการใช้ปั้นจั่น
ความรู้พื้นฐาน วันที่ 1
  • (1) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายปั้นจั่น
  • (2) ชนิดและประเภทรอกไฟฟ้าและปั้นจั่นเหนือศีรษะ
  • (3) ขั้นตอนวิธีการเลือกใช้และติดตั้งอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับรอกไฟฟ้าและปั้นจั่นเหนือศีรษะ
1.2 ส่วนประกอบของรอกไฟฟ้าและปั้นจั่นเหนือศีรษะ
  • (1) ส่วนประกอบของรอกไฟฟ้า
  • (2) ระบบขับเคลื่อน
  • (3) ระบบห้ามล้อ
  • (4) ระบบสัญญาณเตือน
  • (5) ระบบตัดการทำงาน
  • (6) ระบบควบคุมไฟฟ้า
1.3 การตรวจสอบตาม Check List และ ป.จ. 1
  • (1) การตรวจสอบทั่วไป
  • (2) การตรวจสอบตามแบบ ป.จ. 1
  • (3) การตรวจสอบแบบรายวัน
  • (4) การตรวจสอบเชิงป้องกัน

1.4 การวิเคราะห์ปัญหาผิดปกติสาหรับรอกไฟฟ้าและปั้นจั่นเหนือศีรษะ

อบรมวันที่ 2

  • 1.5 ฐานปฏิบัติการสาธิตการทดสอบรับน้ำหนักปั้นจั่นเหนือศีรษะ 
  • 1.6 ฐานปฏิบัติการตรวจสอบระบบมอเตอร์ขับและระบบเบรก
  • 1.7 ฐานปฏิบัติการตรวจสอบระบบควบคุมไฟฟ้า
  • 1.8 ฐานปฏิบัติการตรวจสอบสลิง ตะขอ ดรัม พูเล่ย์
  • 1.9 ฐานปฏิบัติการตรวจสอบราง ล้อ ชุดยก (ขึ้นด้านบนที่ตัวรอกและปั้นจั่น)

การทดสอบภาคทฤษฎีก่อนการอบรม วันที่ 1

  • การอบรมภาคทฤษฎี
  • 1.1 ความรู้พื้นฐาน
  • (1) กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรฯ พ.ศ. 2564
  • (2) มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย
  • (3) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้นจั่นและชนิดของปั้นจั่น
  • (4) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ และอุปกรณ์ยก
  • (5) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น
  • (6) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น
  • 1.2 ระบบเครื่องยนต์ดีเซล ระบบไฮดรอลิค ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น
  • 1.3 ระบบสัญญาณเตือน และ Limit switch
อบรมวันที่ 2
  • 1.4 การใช้สัญญาณมือและการใช้สัญญาณจราจร
  • 1.5 การเลือกใช้ และการตรวจสอบอุปกรณ์ยก
  • 1.6 วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย
  • 1.7 การประเมินน้ำหนักสิ่งของ
  • 1.8 การใช้คู่มือการใช้งาน การตรวจสอบ และการบำรุงรักษาตามระยะเวลา
อบรมวันที่ 3
  • การทดสอบภาคทฤษฎีหลังการอบรม
  • การทดสอบภาคปฏิบัติ
  • 2.1 การวางแผนการยกอย่างปลอดภัยและพิจารณาพิกัดน้ำหนักที่จะยก
  • 2.2 การยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามเส้นทางที่กำหนดอย่างถูกต้องและปลอดภัย
  • 2.3 การให้สัญญาณการผูก มัด การยึดเกาะวัสดุอย่างถูกต้องและปลอดภัย
  • ผู้ผ่านการทดสอบตามเกณฑ์จะได้รับมอบใบรับรองผ่านการอบรม
หลักสูตรอบรมวันที่ 1
  • (1) กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรฯ พ.ศ. 2564
  • (2) ความปลอดภัยในการใช้งานปั้นจั่น กรณีทบทวน และกรณีที่นำปั้นจั่น ชนิดหรือประเภทที่แตกต่างจากเดิมมาใช้งาน
  • (3) กรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น และความสูญเสีย รวมทั้ง นำผลการสอบสวนอุบัติเหตุมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนป้องกัน
ทบทวนการปฏิบัติงานกับปั้นจั่น ปั้นจั่นชนิดรถ เรือ ปั้นจั่นเคลื่อนที่
  • (1) การบังคับปั้นจั่น
  • (2) การให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น 
  • (3) การยึดเกาะวัสดุ
  • (4) การควบคุมการใช้ปั้นจั่น